วันพฤหัสบดีที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

การแสดงผลออกทางหน้าจอ


แสดงผลออกทางหน้าจอ
          การ ทำงานพื้นฐานที่สุดหรือเรียกได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งในการทำงานของทุกโปรแกรม คือ  การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ  โดยในภาษา นั้น  การแสดงผลข้อมูลออกทางจอสามารถทำได้ดังนี้

วันอาทิตย์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ตัวแปรกับชนิดของข้อมูลในภาษาซี


ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปร (Variable) คือ การจองพื้นที่ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์สำหรับเก็บข้อมูลที่ต้องใช้ในการทำงานของโปรแกรม โดยมีการตั้งชื่อเรียกหน่วยความจำในตำแหน่งนั้นด้วย เพื่อความสะดวกในการเรียกใช้ข้อมูล ถ้าจะใช้ข้อมูลใดก็ให้เรียกผ่านชื่อของตัวแปรที่เก็บเอาไว้

วันเสาร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์



องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
มี 5 ส่วน ดังนี้
1.            ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
2.            ซอฟต์แวร์ (Software)
3.            บุคลากร (People ware)
4.            ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)
5.            กระบวนการทำงาน (Procedure)

วันจันทร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

การเขียนผังงาน (Flowchart)


 การเขียนผังงาน ( Flowchart )
            ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึงขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือระบบทีละขั้นตอน โดยแต่ละสัญลักษณ์ในแผนภาพ จะหมายถึงการทำงานหนึ่งขั้นตอน ส่วนลูกศรจะแทนลำดับการทำงานขั้นตอนต่างๆ รวมทั้งทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่เริ่มต้นจนได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ระบบงานทุกชนิดที่ผ่านการวิเคราะห์เป็นลำดับขั้นตอนแล้ว จะสามารถเขียนเป็นผังงานได้

วันอาทิตย์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

แบบทดสอบหน่วยที่ 1ประวัติ พัฒนาการและลักษณะของคอมพิวเตอร์



แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 1
รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี   โรงเรียนทรายทองวิทยา อ.โพนทราย จ.ร้อยเอ็ด
คำชี้แจง  จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

วันอาทิตย์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี


โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี


1.      พรีโพรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ (Preprocessor directives)
2.      ส่วนประกาศ (Global declaration)
3.      ส่วนฟังก์ชันหลัก ( The main() function)
4.      การสร้างฟังก์ชันและการใช้ฟังก์ชั่น (Uses-defined function)
5.      ส่วนอธิบายโปรแกรม (Program comments)

วันอังคารที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ภาษาคอมพิวเตอร์


ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer)
}  ภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ คือ ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่งเป็นรหัสเลขฐานสอง
}  รหัสนีโมนิก (mnemonic) เป็นอักษรภาษาอังกฤษใช้แทนคำสั่งรหัสเลขฐานสอง
}  ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้รหัสนีโมนิกในการเขียนโปรแกรมเรียกว่า ภาษาแอสแซมบลี (Assembly Language)

ประวัติคอมพิวเตอร์


ประวัติ พัฒนาการและลักษณะของคอมพิวเตอร์


ความหมายของคอมพิวเตอร์
          คอมพิวเตอร์ มาจากคำภาษาละตินว่า Computare หมายถึง การนับหรือการคำนวณ ซึ่งถ้าแปลกันตามคำภาษาอังกฤษอย่างกว้างๆ จะหมายถึง เครื่องคำนวณที่มีส่วนประกอบเป็นเครื่อง กลไกลหรือเครื่องไฟฟ้า แม้กระทั่งลูกคิดที่เคยใช้กันในร้านค้าไม้บรรทัด คำนวณ (slide rule) ซึ่งถือเป็นเครื่องมือประจำตัววิศวกรในยุคยี่สิบปีก่อนหรือเครื่องคิดเลขก็ล้วนเป็นคอมพิวเตอร์ได้ ทั้งหมด